ทรัพยากรสัตว์ป่าอุทยานแห่งชาติกุยบุรี


ช้างป่า
ช้างป่าอุทยานแห่งชาติกุยบุรี  อุทยานแห่งชาติกุยบุรีมีประชากรช้างป่าไม่น้อยกว่า  230  ตัว  - บริเวณตอนกลางโดยรอบพื้นที่  ที่ทำการอุทยานแห่งชาติกุยบุรี   บ้านย่านซื่อ บ้านพุบอน  ประมาณ 20 -30 ตัวพบช้างป่าแยกหากินเป็นฝูงเล็ก  หรือหากินลำพังตัวเดียวในป่าลึกตอนกลางของอุทยานฯกุยบุรี ประมาณ5 – 10ตัว - บริเวณหน่วยพิทักษ์อุทยานฯ กุยบุรี ที่ กร. 1  (ป่ายาง)  และพื้นที่โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติ

วัวแดง
วัวแดงวัวแดง (วัวเพาะ หรือ วัวดำ) ชื่อสามัญ : Banteng ชื่อวิทยาศาสตร์ :Bos javanicus ลักษณะทั่วไปรูปร่างคล้ายวัวบ้านแต่มีลักษณะสำคัญที่ต่างไปจากวัวบ้าน คือ ลำตัวมีขนาดใหญ่กว่า มีวงก้นขาวทั้งในตัวผู้และตัวเมีย มีเส้นขาวรอบจมูก ขาทั้ง 4 ข้างมีสีขาวตั้งแต่หัวเข่าจนถึงกีบเท้า ระหว่างโคนขาของตัวผู้ไม่มีขน แต่เป็นหนังตกกระแข็ง ๆ เรียกว่า "กระบังหน้า"...
เสื่อโคร่ง
จากาการพัฒนาแหล่งน้ำแหล่งอาหารให้สัตว์ป่าอย่างต่อเนื่องของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี ทำให้สัตว์ป่าสามารถใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ แหล่งอาหาร ในการดำรงชีวิต ความสมบูรณ์ของพื้นที่ก็ได้เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุดังกล่าว ทำให้สัตว์ป่าต่างๆมีการเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างรวกเร็ว ไม่ว่าจะเป็นช้างป่า  กระทิง วัวแดง กวางป่า และ อื่นๆ  ทำให้มีสัตว์ผู้ล่าตามมาอีกมากมาย เช่น เสือ ชนิดต่างๆที่ หมาจิ้งจอก การสำรวจและติดตามเสือโคร่งในอุทยานแห่งชาติกุยบุรี...
กระทิง
กระทิง อุทยานแห่งชาติกุยบุรี  พบว่ากระทิงจะออกมาหากินหญ้า และดินโป่ง ในพื้นที่ อุทยานแห่งชาติกุยบุรีและพื้นที่โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพป่าบริเวณป่าสงวนแห่งชาติป่ากุยบุรี อันเนื่องมาจากพระราชดำริ โดยจะออกมาหากินหลังจากที่ช้างป่าออกมาหากินในบริเวณนั้นก่อน ซึ่งขณะนี้พบเป็นจำนวนมากถึง 80 ตัว และพบ ลูกกระทิงหลายตัว ซึ่งแสดงว่ามีการเจริญพันธุ์อย่างมาก คาดว่าในพื้นที่อุทยานแห่งชาติกุยบุรี มีกระทิงไม่น้อยกว่า 150 ตัว ข้อมูลทัวไปของกระทิง ลักษณทั่วไปของกระทิง มีขนยาว...
สมเสร็จ  ( สัตว์ป่าสงวน )
จากการสำรวจสัตว์ป่าในอุทยานแห่งชาติกุยบุรีโดยการการติดตตั้ง กล้องถ่ายภาพสัตว์ป่า(Camera Trap ) ในพื้นที่ต่างๆของอุทยานแห่งชาติกุยบุรี ทำให้ทางอุทยานแห่งชาติกุยบุรีได้ภาพสัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติกุยบุรี เป็นจำนวนมาก และ ได้พบกับสัตว์ป่าสงวน ที่อาศัยอยู่ในเขต อุทยานแห่งชาติกุยบุรี หลากหลายชนิด หนึ่งในนั้น คือ สมเสร็จมเอเชีย (Tapirus indicus) ข้อมูลทั่วไป สมเสร็จมลายู หรือ สมเสร็จมเอเชีย